Stories

Light Imbalance: เมื่อแสงสว่างยังไม่เท่ากัน

พงศธร​ กาพ​มณีย์​ พาเราหันไปมองการใช้พลังงานไฟฟ้าในเมืองหลวง และตั้งคำถามถึงการเข้าถึงพลังงานที่ไม่เท่าเทียมกัน

พงศธร​ กาพ​มณีย์​

October 25, 2020

ครบรอบสองปี เขื่อนลาวแตก — เล่าความฝันที่ล่มสลายของคนลาวสู่คนอย่างเรา ๆ ผ่านภาพถ่ายบนผืนผ้า

Cost of lives, cost of living / ฆ่าครองชีพ” นิทรรศการภาพถ่ายบนผืนผ้ายาวกว่า 13 เมตร ในรูปแบบงานบุญผะเหวด ของวิศรุต แสนคำ

กนกพร จันทร์พลอย

July 26, 2020

จากปากร้องสู่ปากท้อง

ณัฐพล พันธ์พงษ์สานนท์ อดีตผู้เข้าร่วม workshop ของเรียลเฟรมพาเราไปมองวิธีการดูแลกลุ่มคนในชุมชนแออัดขององค์กรเพื่อสังคมกลุ่มหนึ่งที่ต้องเปลี่ยนบทบาทจากครูสอนดนตรีที่เยียวยาจิตใจของคนในชุมชนมาเป็นการทำให้ท้องอิ่มในช่วงการระบาดของโควิด-19 นี้

ณัฐพล พันธ์พงษ์สานนท์

July 9, 2020

The Reserve ของ จอง ที่

แดดเปรี้ยง พระอาทิตย์ตรงหัว เขาและเธอยืนล้อมรอบลานเอนกประสงค์หน้าที่ว่าการอำเภอ ข้าวของส่วนตัวถูกนำมาเรียงแถวเป็น ‘ของจองที่’

นันทชัย ภู่โพธิ์เกตุ

June 14, 2020

จะทำอย่างไร เมื่อ “สื่อ” กลายเป็นผู้ละเมิด “สิทธิ”

สื่อมวลชนยุคนี้คงคุ้นเคยกับการขับเคี่ยวกันเพื่อนำเสนอข่าวได้อย่างรวดเร็วทันใจผู้อ่าน พร้อมเนื้อหาที่ดึงดูดความสนใจ โดยเฉพาะเมื่อสื่อต่างๆ เปลี่ยนรูปแบบเป็นออนไลน์ ภารกิจการล่า “ยอดวิว”

realframe

May 30, 2020

‘พื้นที่สีเทา’ เล่า ‘ความธรรมดา’ ในพื้นที่ที่ ‘กฎหมายพิเศษ’ ยังคงอยู่

นิทรรศการ ‘พื้นที่สีเทา’ ของยศธร ไตรยศ ช่างภาพกลุ่มเรียลเฟรม เล่าความธรรมดาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ที่ถูกกดทับสิทธิและเสรีภาพด้วยกฎอัยการศึก พ.ร.ก.ฉุกเฉิน และพ.ร.บ.ความมั่นคง ภายใต้ข้ออ้าง ‘เรื่องความมั่นคง’

realframe

May 30, 2020

‘Realframe’ ความจริงของภาพถ่ายในทัศนะประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน

‘Realframe’ (เรียลเฟรม) คือกลุ่มช่างภาพที่รวมตัวกันอย่างไม่เป็นทางการเมื่อประมาณ 10 กว่าปีก่อน เกิดจากการพบปะพูดคุยกันของสมาชิกในเว็บบอร์ดของเว็บไซต์ Shutter-J เว็บไซต์รวมงานถ่ายภาพเชิงสารคดี

realframe

May 30, 2020

10 ปี สลายการชุมนุมคนเสื้อแดง

แดดเมษาร้อนเหมือนทุกปี เทศกาลสงกรานต์ควรเป็นช่วงเวลาพร้อมหน้าของครอบครัว ขณะที่สงกรานต์ปี 53 บางคนไม่ได้กลับบ้าน และนั่นหมายถึงการไม่มีเทศกาลสงกรานต์ตลอดไป

ปฏิภัทร จันทร์ทอง

May 18, 2020

แรงงาน โควิด และครัวกลาง หรือนี้จะเป็นทางออกหลังโควิด​

เมื่อรัฐล้มเหลวด้านการดูแลประชาชนภายใต้วิกฤตโรคระบาด ทำให้ชาวเชียงใหม่หลายกลุ่ม รวมตัวกันและเสนอโมเดลเพื่อเยียวยาปัญหาปากท้องเฉพาะหน้า จึงเป็นที่มาของ “ครัวกลาง” โมเดลแก้ปัญหาปากท้องโดยชุมชนเพื่อชุมชน

วิศรุต แสนคำ

May 3, 2020
1 3 4 5 7